หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์
Bachelor of Science Program in Criminology and Forensic Science
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Science (Criminology and Forensic Science)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วท.บ. (อาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Sc. (Criminology and Forensic Science)
แผนการเรียน
- 4 ปี 126 หน่วยกิต
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
- ประมาณ 350,000 บาท
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
- สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้น ม. 6 หรือเทียบเท่า ( ไม่กำหนดคะแนนเฉลี่ยสะสม )
หลักฐานการสมัคร
- สำเนาการศึกษา ( Transcript ) 1 ชุด
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน 1 ชุด
- สำเนาทะเบียนบ้าน 1 ชุด
- รูปถ่ายสี 1 นิ้ว 3 รูป ( รูปถ่ายไม่เกิน 6 เดือน )
เกี่ยวกับสาขา อาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์
คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต
ปรัชญา
หลักสูตรนี้เป็นความร่วมมือระหว่างสถาบันอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม คณะวิทยาศาสตร์ และคณะเทคนิคการแพทย์ ในการบูรณาการความรู้ด้านอาชญาวิทยา การบริหารงานยุติธรรมและวิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้แบบสหวิทยาการ (ซึ่งประกอบด้วยความรู้ด้านอาชญาวิทยา วิทยาศาสตร์ นิติศาสตร์และการบริหารงานยุติธรรม) และนำความรู้ดังกล่าวไปใช้ในกระบวนการยุติธรรม
หลักสูตรนี้มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ด้านอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ที่สามารถทำงานในหน่วยงานราชการและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับงานนิติวิทยาศาสตร์และการบริหารงานยุติธรรม บัณฑิตเหล่านี้จะช่วยให้การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมของไทย ด้วยการอาศัยความรู้นิติวิทยาศาสตร์และอาชญาวิทยามากขึ้น ซึ่งจะทำให้กระบวนการยุติธรรมมีความถูกต้อง และน่าเชื่อถือมากขึ้น อันเป็นประโยชน์ต่อสังคมไทยโดยรวม
วัตถุประสงค์
-
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถด้านวิชาการ การประยุกต์และบูรณาการศาสตร์ทางด้านอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์เพื่อจัดการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมในสังคมได้อย่างเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม
-
เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ให้บุคลากรในกระบวนการยุติธรรมมีความรู้ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ และนำความรู้ไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน ควบคู่กับการเน้นการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม
-
เพื่อสนับสนุน ผลักดัน ให้สังคมได้ตระหนัก เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาและกำหนดมาตรการในการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมอย่างเป็นรูปธรรม
-
เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ให้เป็นการศึกษาแบบสหวิทยาการสำหรับเป็นพื้นฐานที่สำคัญของการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ในระดับที่สูงขึ้นทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สร้างเครือข่ายทางวิชาการในระดับอุดมศึกษาสถาบันวิจัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในประเทศและระดับนานาชาติ
โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 126 หน่วยกิต
โครงสร้างของหลักสูตร
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไปแบ่งโครงสร้างหลักสูตรออกเป็น 8 กลุ่มวิชา ดังนี้
กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 จำนวนหน่วยกิตรวม 15 หน่วยกิต
กลุ่มที่ 1 อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย 3 หน่วยกิต
กลุ่มที่ 2 ความเป็นสากลและการสื่อสาร 12 หน่วยกิต
โดยกลุ่มที่ 2 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มวิชาดังนี้
กลุ่มที่ 2.1 กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 6 หน่วยกิต
กลุ่มที่ 2.2 กลุ่มวิชาภาษานานาชาติและประสบการณ์ระหว่างประเทศ 6 หน่วยกิต
กลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 จำนวนหน่วยกิตรวม 15 หน่วยกิต
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
กลุ่มที่ 3 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบต่อสังคม
กลุ่มที่ 4 ศิลปะและวัฒนธรรม
กลุ่มที่ 5 ผู้ประกอบการนวัตกรรม
กลุ่มที่ 6 รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล
กลุ่มที่ 7 หลักคิดวิทยาศาสตร์
กลุ่มที่ 8 อาร์เอสยู มาย-สไตล์
หมวดวิชาเฉพาะ 90 หน่วยกิต
1.) วิชาชีพ-บังคับ 81 หน่วยกิต
2.) วิชาชีพ-เลือก 9 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
รายชื่อวิชาในหลักสูตร
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
1) กลุ่มที่ 1 อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย (RSU Identity)
นักศึกษาจะต้องเรียนกลุ่มวิชา RSU Identity จำนวน 3 หน่วยกิต นักศึกษาจะต้องเรียนวิชาสังคมธรรมาธิปไตย 2 หน่วยกิต และเลือกเรียนรายวิชาอีก 1 หน่วยกิต ดังนี้
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 111 | สังคมธรรมาธิปไตย (Social Dharmacracy) | 2(2–0-4) |
RSU 112 | กีฬาเพื่อสุขภาพ (Sports for Health) | 1(0-2-1) |
2) กลุ่มที่ 2 ความเป็นสากลและการสื่อสาร (Internationalization and Communication)
รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานที่นักศึกษาจะต้องเรียน ดังนี้
กรณีที่ 1 นักศึกษาที่มีทักษะทางภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ผลคะแนนสอบ O-NET ในรายวิชาภาษาอังกฤษตั้งแต่ 0-20 คะแนน หรือ ไม่มีผลคะแนน O-NET หรือเกรดเฉลี่ยรวมภาษา ต่างประเทศ ต่ำกว่า 3.00) จะต้องเรียนวิชา ENL 124 : ปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ (English Bridging) และสอบผ่านได้สัญลักษณ์ S (Satisfactory) ก่อน จึงสามารถเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษอื่นๆ ตามกรณีที่2 อย่างไรก็ตาม วิชานี้เทียบเท่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่นับรวมกับจำนวนหน่วยกิตในโครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด
กรณีที่ 2 นักศึกษาที่มีทักษะภาษาอังกฤษสูงกว่าเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ผลคะแนนสอบ O-NET ในรายวิชาภาษาอังกฤษตั้งแต่ 21 คะแนนขึ้นไป หรือเกรดเฉลี่ยรวมภาษาต่างประเทศ มากกว่า 3.00 ขึ้นไป) สามารถเริ่มเรียน ENL 125: ภาษาอังกฤษเพื่อทัศนาโลก (English for Global Exploration) หลังจากนั้น จึงสามารถเรียนวิชา ENL126 :ภาษาอังกฤษในบริบทของเทคโนโลยี การบันเทิงและการออกแบบ (English in TED – Technology, Entertainment, and Design) นอกจากนี้ยังสามารถเลือกเรียนภาษาอังกฤษในระดับสูง คือ ENL 127: ภาษาอังกฤษในการทำงาน (English at Work) ENL 128: การนำเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ (Presentations in English) และ ENL 129: ภาษาอังกฤษสำหรับการประชุม (English for Meetings) ได้
2.1) กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (English Language)
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
ENL 124 | ปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ (English Bridging) | 3(2-2-5) |
ENL 125 | ภาษาอังกฤษเพื่อทัศนาโลก (English for Global Exploration) | 3(2-2-5) |
ENL 126 | ภาษาอังกฤษในบริบทของเทคโนโลยี การบันเทิงและการออกแบบ (English in TED – Technology, Entertainment, and Design) | 3(2-2-5) |
2.2) กลุ่มวิชาภาษานานาชาติและประสบการณ์ระหว่างประเทศ (International Language and International Experience)
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
ENL 127 | ENL 127 (English at Work) | 3(2-2-5) |
ENL 128 | การนำเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ (Presentations in English) | 3(2-2-5) |
ENL 129 | ภาษาอังกฤษสำหรับการประชุม (English for Meetings) | 3(2-2-5) |
ENL 130 | ภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ (Business English) | 3(2-2-5) |
THA 126 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication) | 3(2-2-5) |
RSU 127 | ลุยโลกอินเตอร์ (Intercultural Communication) | 3(2-2-5) |
RSU 128 | ไทยมองเทศ เทศมองไทย (Intercultural Communication in Thai Community) | 3(2-2-5) |
RSU 129 | สู่โลกกว้าง (Intercultural Communication in World Community) | 3(0-35-18) |
JPN 101 | ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Japanese for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
JPN 102 | ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Japanese for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
JPN 110 | ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร (Japanese Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
CHN 101 | ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Chinese for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
CHN 102 | ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Chinese for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
CHN 110 | ภาษาและวัฒนธรรมจีนเพื่อการสื่อสาร (Chinese Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
FRN 101 | ภาษาฝรั่งเศสสำหรับผู้เริ่มเรียน 1 (French for Beginners I) | 3(2-2-5) |
FRN 102 | ภาษาฝรั่งเศสสำหรับผู้เริ่มเรียน 2 (French for Beginners II) | 3(2-2-5) |
FRN 110 | ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร (French Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
ISL 111 | ภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Arabic for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
ISL 112 | ภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Arabic for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
ISL 113 | ภาษาอาหรับและวัฒนธรรมของประเทศในโลกมุสลิม (Arabic Language and Culture in Muslim Countries) | 3(2-2-5) |
KOR 101 | ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Korean for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
KOR 102 | ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Korean for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
KOR 110 | ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลีเพื่อการสื่อสาร (Korean Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
RUS 101 | ภาษารัสเซียสำหรับผู้เริ่มเรียน (Russian for Beginners) | 3(2–3–6) |
RUS 102 | ภาษารัสเซียในชีวิตประจำวัน (Russian for Daily Life) | 3(2-2-5) |
RUS 110 | ภาษาและวัฒนธรรมรัสเซียเพื่อการสื่อสาร (Russian Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
SPN 101 | ภาษาสเปนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Spanish for Everyday Communication I) | 3(2–3–6) |
SPN 102 | ภาษาสเปนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Spanish for Everyday Communication II) | 3(2-3-6) |
SPN 110 | ภาษาและวัฒนธรรมสเปนเพื่อการสื่อสาร (Spanish Language and Culture for Communication) | 3(2–3–6) |
GER 121 | ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (German for Everyday Communication I) | 3(2-3-6) |
GER 122 | ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (German for Everyday Communication II) | 3(2-3-6) |
GER 110 | ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันเพื่อการสื่อสาร (German Language and Culture for Communication) | 3(2-3-6) |
SWD 121 | ภาษาสวีดิชเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Swedish for Everyday Communication I) | 3(2-3-6) |
SWD 122 | ภาษาสวีดิชเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Swedish for Everyday Communication II) | 3(2-3-6) |
SWD 110 | ภาษาและวัฒนธรรมสวีเดนเพื่อการสื่อสาร (Swedish Language and Culture for Communication) | 3(2-3-6) |
VTN 101 | ภาษาเวียดนามเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Vietnamese for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
VTN 102 | ภาษาเวียดนามเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Vietnamese for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
VTN 110 | ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนามเพื่อการสื่อสาร (Vietnamese Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
MLY 101 | ภาษามลายูเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Malay for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
MLY 102 | ภาษามลายูเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Malay for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
MLY 110 | ภาษาและวัฒนธรรมมลายูเพื่อการสื่อสาร (Malay Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
BHS 101 | ภาษาอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Bahasa Indonesia for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
BHS 102 | ภาษาอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Bahasa Indonesia for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
BHS 110 | ภาษาและวัฒนธรรมอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสาร (Indonesia Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
LAO 101 | ภาษาลาวเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Lao for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
LAO 102 | ภาษาลาวเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Lao for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
LAO 110 | ภาษาและวัฒนธรรมลาวเพื่อการสื่อสาร (Lao Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
BRM 121 | ภาษาพม่าเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Burmese for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
BRM 122 | ภาษาพม่าเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Burmese for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
BRM 110 | ภาษาและวัฒนธรรมพม่าเพื่อการสื่อสาร (Burmese Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
3) กลุ่มที่ 3 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบต่อสังคม (Leadership and Social Responsibility)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 130 | ศาสตร์แห่งรัก | 3(2-2-5) |
RSU 131 | ผู้นำการเปลี่ยนแปลง | 3(2-2-5) |
RSU 132 | การรู้เท่าทันการคอร์รัปชั่น | 3(2-2-5) |
RSU 133 | ศาสตร์พระราชา | 3(2-2-5) |
RSU 134 | กฎหมายต้องรู้ | 3(2-2-5) |
RSU 135 | การออกแบบชีวิตและสังคมแห่งความสุข | 3(2-2-5) |
4) กลุ่มที่ 4 ศิลปะและวัฒนธรรม (Arts and Culture)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 140 | ชีวิตในต่างแดนกับการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม | 3(0-35-18) |
RSU 141 | สัมมนาประสบการณ์ต่างแดน | 3(3-0-6) |
RSU 142 | ศาสตร์และศิลป์แห่งการดำเนินชีวิต | 3(3-0-6) |
RSU 143 | ปทุมธานีศึกษา | 3(3–0–6) |
RSU 144 | คนต้นแบบ | 3(3–0–6) |
RSU 145 | สื่อสะท้อนชีวิต | 3(3–0–6) |
RSU 146 | รู้ทันโลก | 3(3–0–6) |
RSU 147 | ความเป็นไทย | 3(2-2-5) |
RSU 148 | ไทยในสื่อ | 3(2-2-5) |
RSU 149 | วัฒนธรรมวิจักษ์ | 3(2-2-5) |
RSU 240 | ศิลปะการทำงานต่างวัฒนธรรม | 3(2-2-5) |
RSU 241 | วิถีอาเซียน 1 | 3(2-2-5) |
RSU 242 | วิถีอาเซียน 2 | 3(2-2-5) |
RSU 243 | ความสร้างสรรค์ในงานศิลป์ | 3(2-2-5) |
5) กลุ่มที่ 5 ผู้ประกอบการนวัตกรรม (Innovative Entrepreneurship)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 150 | การจัดการเชิงสร้างสรรค์ | 3(2-2-5) |
RSU 151 | ประสบการณ์จากการสตาร์ทอัพและการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ | 3(1-4-4) |
RSU 152 | การคิดนอกกรอบ | 3(2-2-5) |
RSU 153 | ผู้ประกอบการไลฟ์สไตล์ | 3(2-2-5) |
RSU 154 | แนวคิดการประกอบการในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล | 3(3-0-6) |
RSU 155 | งานออนไลน์ระดับโลก | 3(2-2-5) |
6) กลุ่มที่ 6 รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล (Digital Media Literacy)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่ม 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 160 | รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล | 3(2-2-5) |
RSU 161 | การออกแบบและผลิตสื่อดิจิทัล | 3(2-2-5) |
RSU 162 | รู้เท่าทันการลงทุนในยุคดิจิทัล | 3(3–0–6) |
RSU 163 | การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคสื่อดิจิทัล | 3(2-2-5) |
7) กลุ่มที่ 7 หลักคิดวิทยาศาสตร์ (Essence of Science)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 170 | หลักคิดวิทยาศาสตร์ | 3(2-2-5) |
RSU 171 | วิถีสุขภาพดีมีสุข | 3(2-2-5) |
RSU 172 | ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม | 3(2-2-5) |
RSU 173 | โภชนาการสร้างเสริมสุขภาพ | 3(2-2-5) |
RSU 174 | การออกแบบสรีระ | 3(2-2-5) |
8) กลุ่มที่ 8 อาร์เอสยู มาย-สไตล์ (RSU My-Style)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 180 | รังสิตมาย-สไตล์ | 3(1-4-4) |
RSU 181 | นันทนาการ | 3(2-2-5) |
RSU 182 | การพัฒนาความสามารถพิเศษ | 3(2-2-5) |
RSU 183 | การปฏิบัติงานช่างด้วยตนเอง | 3(2-2-5) |
RSU 184 | คนต่างรุ่นในสังคมสูงวัย | 3(2-2-5) |
RSU 185 | ทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมืออาชีพ | 3(2-2-5) |
หมวดวิชาเฉพาะ 90 หน่วยกิต
1) วิชาชีพ – บังคับ 81 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
ANA 100 | กายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน (Basic Anatomy) | 3(2–3–6) |
BCH 201 | ชีวเคมีพื้นฐาน (Basic Biochemistry) | 4(3–3–8) |
BIO 131 | ชีววิทยาทั่วไป (General Biology) | 3(3–0–6) |
BIO 132 | ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป (General Biology Laboratory) | 1(0–3–2) |
BMS 403 | จุลกายวิภาคศาสตร์ (Microscopic Anatomy) | 3(2–3–6) |
BMS 418 | พิษวิทยา (Toxicology) | 3(2–3–6) |
CHM 129 | เคมีเบื้องต้น (Introduction to Chemistry) | 4(3–3–8) |
CHM 230 | เคมีวิเคราะห์เบื้องต้น (Basic Analytical Chemistry) | 3(2–3–6) |
CJA 101 | กระบวนการยุติธรรมและกฏหมายในชีวิตประจำวัน (Justice Administration and Laws in Daily Life) | 3(3–0–6) |
CJA 102 | การบริหารงานตำรวจ (Police Administration) | 3(3–0–6) |
CJA 103 | ยุทธวิธีตำรวจ (Police Tactics) | 3(3–0–6) |
CJA 201 | หลักการทางนิติวิทยาศาสตร์และกฏหมาย (The Principle of Forensic Science, and Law) | 3(3–0–6) |
CJA 202 | ทฤษฎีอาชญาวิทยา (Criminological Theory) | 3(3–0–6) |
CJA 204 | หลักกฎหมายอาญากับอาชญากรรม (Criminal Laws and Crime) | 3(3–0–6) |
CJA 301 | การบริหารจัดการและตรวจสถานที่เกิดเหตุ (Crime Scene Management and Investigation) | 3(3–0–6) |
CJA 304 | กฎหมายธุรกิจเบื้องต้นกับอาชญากรรม (Introduction to Business Law and Crime) | 3(3–0–6) |
CJA 325 | ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) | 2(2–0—4) |
CJA 391 | การพิสูจน์หลักฐาน (Criminalistics) | 3(3–0–6) |
CJA 401 | การบูรณาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ (Integration of Criminology and Forensic science) | 3(3–0–6) |
CJA 402 | หลักสิทธิมนุษยชน คุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาล (Human Rights, Ethics, and Good Governance) | 3(3–0–6) |
CJA 406 | คอมพิวเตอร์ และกฎหมายด้านคอมพิวเตอร์ สำหรับนิติวิทยาศาสตร์ (Criminal Laws and Crime) | 3(3–0–6) |
CJA 411 | การฝึกงาน* (Practical Training) หากเลือกเรียนรายวิชา CJA 411การฝึกงาน ไม่ต้องเรียน CJA 497 สหกิจศึกษา | 3(0–35–18) |
CJA 491 | ปริญญานิพนธ์* (Senior Project) | 3(0–9–5) |
CJA 497 | สหกิจศึกษา* (Cooperative Education) *หากเลือกเรียนรายวิชา CJA 497 สหกิจศึกษาไม่ต้องเรียน CJA 411 การฝึกงาน, CJA 491 ปริญญานิพนธ์ | 6(0–35–18) |
MIC 305 | จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน (Microbiology and Immunology) | 4(3–3–8) |
PAT 207 | พยาธิวิทยาสรีรวิทยาสำหรับนักศึกษาสาขาอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ (Pathophysiology for Criminology and Forensic Science Student) | 2(2–0–4) |
PHY 135 | ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Life Science Physics) | 3(2–3–6) |
PMC 101 | เภสัชวิทยาทั่วไป (General Pharmacology) | 1(1–0–2) |
PSO 100 | สรีรวิทยาพื้นฐาน (Basic Physiology) | 3(3–0–6) |
2) วิชาชีพ – เลือก 9 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
BMS 322 | พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) | 3(2–3–6) |
CJA 205 | จิตวิทยากับกระบวนการยุติธรรม (Psychology and Criminal Justice) | 3(3–0–6) |
CJA 303 | เด็กและเยาวชนกับอาชญากรรม (Youth and Crime) | 3(3–0–6) |
CJA 306 | อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี (Cyber Crime and Technology) | 3(3–0–6) |
CJA 307 | เหยื่อวิทยา (Victimology) | 3(3–0–6) |
CJA 404 | อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ และการเมือง (Economic and Political Crime) | 3(3–0–6) |
CJA 408 | พิษวิทยาสำหรับนิติวิทยาศาสตร์ (Forensic Toxicology) | 3(2–3–6) |