อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม

คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม

คณะอาชญาวิทยา
โคนันรุ่นที่ 4 (2)
ณ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ 2
คณะอาชญาวิทยา Open House 2022 -3
คณะอาชญาวิทยา Open House 2022 -6

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม

Bachelor of Arts Program in Criminology and Criminal Justice

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม)

ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Criminology and Criminal Justice)

ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม)

ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Criminology and Criminal Justice)

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

  • จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร  126 หน่วยกิต

รูปแบบของหลักสูตร

  1. รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
  2. ประเภทของหลักสูตร หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
  3. ภาษาที่ใช้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
  4. การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
  5. ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
  6. การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

อาชีพที่สามารถประกอบการได้หลังจบการศึกษา

  1. บุคลากรประกอบอาชีพในด้านที่เกี่ยวข้องกับ อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม อาทิ พนักงานคุมประพฤติ พนักงานราชทัณฑ์ พนักงานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน

  2. บุคลากรในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติงานทางด้านกระบวนการยุติธรรม อาทิ เจ้าพนักงานศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม นักวิชาการยุติธรรม สำนักงานกิจการยุติธรรม นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กระทรวงยุติธรรม สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สำนักงานป้องกันและปรามปรามการฟอกเงิน สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงมหาดไทย เป็นต้น
  3. บุคลากรประกอบอาชีพในองค์การมหาชนหรือทำงานในภาคเอกชนและหน่วยงานภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้องกับอาชญาวิทยาและกระบวนการยุติธรรม อาทิ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) หน่วยงานรักษาความปลอดภัย มูลนิธิ สมาคม และองค์กรระหว่างประเทศ
  4. นักวิชาการ นักวิจัย และอาจารย์ในสาขาวิชาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  • สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้น ม. 6 หรือเทียบเท่า ( ไม่กำหนดคะแนนเฉลี่ยสะสม )

หลักฐานการสมัคร

  1. สำเนาการศึกษา ( Transcript ) 1 ชุด
  2. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน 1 ชุด     
  3. สำเนาทะเบียนบ้าน 1 ชุด   
  4. รูปถ่ายสี 1 นิ้ว 3 รูป ( รูปถ่ายไม่เกิน 6 เดือน )

เกี่ยวกับสาขา อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม

คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต

ปรัชญาของหลักสูตร

คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีทักษะและองค์ความรู้ ในสาขาสามารถนำไปใช้ในกระบวนการยุติธรรม และช่วยแก้ไขปัญหาอาชญากรรมที่ซับซ้อนและ ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นอันส่งผลกระทบต่อความสงบสุขเรียบร้อยของประชาชน โดยมีเป้าหมายให้บัณฑิตในสาขามีความรู้ สามารถประยุกต์องค์รู้ในลักษณะสหวิทยาการ สามารถทำงานทั้งในหน่วยงานราชการและหน่วยงานเอกชนที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมไทยโดยรวม

                  ด้วยความที่ปัญหาอาชญากรรมในประเทศไทยมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น อันเนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นความก้าวหน้าของเทคโนโลยี โลกาภิวัตน์ ความเหลื่อมล้ำในสังคมส่งผลให้กระบวนการยุติธรรมในประเทศไทยจำเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้จากทั้งอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมมาประยุกต์ใช้ เพื่ออำนวยความยุติธรรมให้เกิดขึ้นในสังคมไทย และแก้ไขปัญหาอาชญากรรมอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาบัณฑิตให้มีคุณภาพในด้านวิชาการและด้านคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติต่อไ

ปริญญาโท
กิจกรรม WORK SHOP การตรวจสถานที่เกิดเหตุและปัดลายนิ้วมือแฝง

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

  1. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ในสาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม สามารถประยุกต์องค์ความรู้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ สรุปปัญหาและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาอาชญากรรมในสังคม
  2. เพื่อส่งเสริมให้บัณฑิตสามารถเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบูรณาการความรู้ในการทำงานในระบบงานยุติธรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ในสาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมในลักษณะสหวิทยาการสนับสนุนให้บัณฑิตมีความคิดริเริ่ม และนำเสนอองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคม
  4. เพื่อพัฒนาทักษะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การค้นคว้าข้อมูลจนเกิดการเรียนรู้และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง สามารถนำเสนอความคิด และเผยแพร่องค์ความรู้ได้อย่างสร้างสรรค์เหมาะสมกับสถานการณ์
  5. เพื่อให้บัณฑิตเข้าใจวิชาเรียนในสาขาของตนเองอย่างถ่องแท้ มีทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน ควบคู่กับการเน้นการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมมีจิตสำนึก และจิตวิญญาณของการช่วยเหลือ การให้โอกาสแก่ผู้กระทำผิด
จำนวนหน่วยกิต

รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยคณะ

    3.1 หลักสูตรที่เปิดสอนนี้มีรายวิชาในหลักสูตรที่สอนโดยคณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม ดังนี้

                       3.1.1 หมวดวิชาชีพ-บังคับ

                       3.1.2 หมวดวิชาชีพ-เลือก       

                   รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยวิทยาลัย/คณะ/สถาบัน อื่น

    3.2 หลักสูตรที่เปิดสอนนี้มีรายวิชาในหลักสูตรที่สอนโดยคณะอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัย ดังนี้

                       3.2.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

                       3.2.2 หมวดวิชาเลือกเสรี

     รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้วิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน

                       – ไม่มี –

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต

1)  กลุ่มที่ 1 อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย (RSU Identity)

    นักศึกษาจะต้องเรียนกลุ่มวิชา RSU Identity จำนวน  3   หน่วยกิต นักศึกษาจะต้องเรียนวิชาสังคมธรรมาธิปไตย  2 หน่วยกิต   และเลือกเรียนรายวิชาอีก 1 หน่วยกิต ดังนี้

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

RSU 111สังคมธรรมาธิปไตย (Social Dharmacracy)2(2-0-4)
RSU 112กีฬาเพื่อสุขภาพ (Sports for Health) 1(0-2-1)
RSU 113ภาษาอังกฤษในบริบทของเทคโนโลยี การบันเทิงและการออกแบบ (English in TED – Technology, Entertainment, and Design)3(2-2-5)
2)  กลุ่มที่ 2 ความเป็นสากลและการสื่อสาร (Internationalization and Communication)

     รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานที่นักศึกษาจะต้องเรียน ดังนี้       กรณีที่ 1 นักศึกษาที่มีทักษะทางภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ผลคะแนนสอบ O-NET ในรายวิชาภาษาอังกฤษตั้งแต่ 0-20 คะแนน หรือ ไม่มีผลคะแนน O-NET หรือเกรดเฉลี่ยรวมภาษา ต่างประเทศ ต่ำกว่า 3.00) จะต้องเรียนวิชา ENL 124 : ปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ (English Bridging) และสอบผ่านได้สัญลักษณ์ S (Satisfactory) ก่อน จึงสามารถเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษอื่นๆ ตามกรณีที่2 อย่างไรก็ตาม วิชานี้เทียบเท่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่นับรวมกับจำนวนหน่วยกิตในโครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด      กรณีที่  2  นักศึกษาที่มีทักษะภาษาอังกฤษสูงกว่าเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ผลคะแนนสอบ O-NET ในรายวิชาภาษาอังกฤษตั้งแต่ 21 คะแนนขึ้นไป หรือเกรดเฉลี่ยรวมภาษาต่างประเทศ มากกว่า 3.00 ขึ้นไป) สามารถเริ่มเรียน ENL 125: ภาษาอังกฤษเพื่อทัศนาโลก (English for Global Exploration) หลังจากนั้น จึงสามารถเรียนวิชา ENL126 :ภาษาอังกฤษในบริบทของเทคโนโลยี การบันเทิงและการออกแบบ (English in TED – Technology, Entertainment, and Design) นอกจากนี้ยังสามารถเลือกเรียนภาษาอังกฤษในระดับสูง คือ ENL 127: ภาษาอังกฤษในการทำงาน (English at Work)   ENL 128: การนำเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ (Presentations in English) และ ENL 129: ภาษาอังกฤษสำหรับการประชุม (English for Meetings) ได้

2.1) กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (English Language)                

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ENL 124ปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ (English Bridging)   3(2-2-5)
ENL 125ภาษาอังกฤษเพื่อทัศนาโลก (English for Global Exploration)  3(2-2-5)
ENL 126ภาษาอังกฤษในบริบทของเทคโนโลยี การบันเทิงและการออกแบบ (English in TED – Technology, Entertainment, and Design)3(2-2-5)
 
2.2) กลุ่มวิชาภาษานานาชาติและประสบการณ์ระหว่างประเทศ  (International Language and International Experience)

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

     

ENL 127ENL 127 (English at Work)3(2-2-5)
ENL 128การนำเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ (Presentations in English)3(2-2-5)
ENL 129ภาษาอังกฤษสำหรับการประชุม (English for Meetings)3(2-2-5)
ENL 130ภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ (Business English)3(2-2-5)
THA 126ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication)3(2-2-5)
RSU 127ลุยโลกอินเตอร์ (Intercultural Communication)3(2-2-5)
RSU 128 ไทยมองเทศ เทศมองไทย (Intercultural Communication in Thai Community)3(2-2-5)
RSU 129สู่โลกกว้าง (Intercultural Communication in World Community)3(0-35-18)
JPN 101ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Japanese for Everyday Communication I)3(2-2-5)
JPN 102ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Japanese for Everyday Communication II)3(2-2-5)
JPN 110ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร (Japanese Language and Culture for Communication)3(2-2-5)
CHN 101ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Chinese for Everyday Communication I)3(2-2-5)
CHN 102ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Chinese for Everyday Communication II)3(2-2-5)
CHN 110ภาษาและวัฒนธรรมจีนเพื่อการสื่อสาร (Chinese Language and Culture for Communication)3(2-2-5)
FRN 101ภาษาฝรั่งเศสสำหรับผู้เริ่มเรียน 1 (French for Beginners I)3(2-2-5)
FRN 102ภาษาฝรั่งเศสสำหรับผู้เริ่มเรียน 2 (French for Beginners II) 3(2-2-5)
FRN 110ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร (French Language and Culture for Communication)3(2-2-5)
ISL 111ภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Arabic for Everyday Communication I)3(2-2-5)
ISL 112 ภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Arabic for Everyday Communication II)3(2-2-5)
ISL 113ภาษาอาหรับและวัฒนธรรมของประเทศในโลกมุสลิม (Arabic Language and Culture in Muslim Countries)3(2-2-5)
KOR 101ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Korean for Everyday Communication I)3(2-2-5)
KOR 102ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Korean for Everyday Communication II)3(2-2-5)
KOR 110ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลีเพื่อการสื่อสาร (Korean Language and Culture for Communication)3(2-2-5)
RUS 101ภาษารัสเซียสำหรับผู้เริ่มเรียน (Russian for Beginners) 3(236)
RUS 102ภาษารัสเซียในชีวิตประจำวัน (Russian for Daily Life)3(2-2-5)
RUS 110ภาษาและวัฒนธรรมรัสเซียเพื่อการสื่อสาร (Russian Language and Culture for Communication)3(2-2-5)
SPN 101ภาษาสเปนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Spanish for Everyday Communication I)3(236)
SPN 102ภาษาสเปนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Spanish for Everyday Communication II)3(2-3-6)
SPN 110ภาษาและวัฒนธรรมสเปนเพื่อการสื่อสาร (Spanish Language and Culture for Communication)3(236)
GER 121ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (German for Everyday Communication I)3(2-3-6)
GER 122ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (German for Everyday Communication II)3(2-3-6)
GER 110ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันเพื่อการสื่อสาร (German Language and Culture for Communication)3(2-3-6)
SWD 121ภาษาสวีดิชเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Swedish for Everyday Communication I)3(2-3-6)
SWD 122ภาษาสวีดิชเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Swedish for Everyday Communication II)3(2-3-6)
SWD 110ภาษาและวัฒนธรรมสวีเดนเพื่อการสื่อสาร (Swedish Language and Culture for Communication)3(2-3-6)
VTN 101ภาษาเวียดนามเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Vietnamese for Everyday Communication I)3(2-2-5)
VTN 102ภาษาเวียดนามเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Vietnamese for Everyday Communication II)3(2-2-5)
VTN 110ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนามเพื่อการสื่อสาร (Vietnamese Language and Culture for Communication)3(2-2-5)
MLY 101ภาษามลายูเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Malay for Everyday Communication I)3(2-2-5)
MLY 102ภาษามลายูเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Malay for Everyday Communication II)3(2-2-5)
MLY 110ภาษาและวัฒนธรรมมลายูเพื่อการสื่อสาร (Malay Language and Culture for Communication)3(2-2-5)
BHS 101ภาษาอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Bahasa Indonesia for Everyday Communication I)3(2-2-5)
BHS 102ภาษาอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Bahasa Indonesia for Everyday Communication II)3(2-2-5)
BHS 110ภาษาและวัฒนธรรมอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสาร (Indonesia Language and Culture for Communication)3(2-2-5)
LAO 101ภาษาลาวเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Lao for Everyday Communication I) 3(2-2-5)
LAO 102ภาษาลาวเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Lao for Everyday Communication II) 3(2-2-5)
LAO 110ภาษาและวัฒนธรรมลาวเพื่อการสื่อสาร (Lao Language and Culture for Communication)3(2-2-5)
BRM 121ภาษาพม่าเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Burmese for Everyday Communication I)3(2-2-5)
BRM 122ภาษาพม่าเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Burmese for Everyday Communication II)3(2-2-5)
BRM 110ภาษาและวัฒนธรรมพม่าเพื่อการสื่อสาร (Burmese Language and Culture for Communication)3(2-2-5)
 
3)  กลุ่มที่ 3 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบต่อสังคม (Leadership and Social Responsibility)

     นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต 

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

       

RSU 130ศาสตร์แห่งรัก (Science of Love)3(2-2-5)
RSU 131ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Leadership for Changes)3(2-2-5)
RSU 132การรู้เท่าทันการคอร์รัปชั่น (Corruption Literacy)3(2-2-5)
RSU 133ศาสตร์พระราชา (King Bhumibol Adulyadej’s Philosophy)3(2-2-5)
RSU 134กฎหมายต้องรู้ (Legal Awareness)3(2-2-5)
RSU 135การออกแบบชีวิตและสังคมแห่งความสุข (Happy Life and Society Design)3(2-2-5)

          

4)  กลุ่มที่ 4 ศิลปะและวัฒนธรรม (Arts and Culture)

     นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต 

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

RSU 140ชีวิตในต่างแดนกับการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (Intercultural Communication through Overseas Experiences)3(0-35-18)
RSU 141สัมมนาประสบการณ์ต่างแดน (Seminars in Overseas Experiences)3(3-0-6)
RSU 142ศาสตร์และศิลป์แห่งการดำเนินชีวิต (Sciences and Arts of Living)3(3-0-6)
RSU 143ปทุมธานีศึกษา (Pathum Thani Study)3(306)
RSU 144 คนต้นแบบ (Idol Studies)3(306)
RSU 145สื่อสะท้อนชีวิต (Life Reflection Through Media)3(306)
RSU 146รู้ทันโลก (World Society Awareness)3(306)
RSU 147ความเป็นไทย (Thainess)3(2-2-5)
RSU 148ไทยในสื่อ (Thai Dimensions in Media)3(2-2-5)
RSU 149วัฒนธรรมวิจักษ์ (Cultural Appreciation)3(2-2-5)
RSU 240ศิลปะการทำงานต่างวัฒนธรรม (Arts of Working with Foreigners)3(2-2-5)
RSU 241วิถีอาเซียน 1 (Introduction to Passage to ASEAN: P2A1)3(2-2-5)
RSU 242วิถีอาเซียน 2 (Passage to ASEAN Experiences: P2A2) 3(2-2-5)  
RSU 243ความสร้างสรรค์ในงานศิลป์ (Creativity in the Arts)3(2-2-5)  

         

5) กลุ่มที่ 5 ผู้ประกอบการนวัตกรรม (Innovative Entrepreneurship)

     นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

RSU 150 การจัดการเชิงสร้างสรรค์ Creative Management)3(2-2-5)
RSU 151ประสบการณ์จากการสตาร์ทอัพและการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ (Startup and Entrepreneurship Experiences)3(1-4-4)
RSU 152 การคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking)3(2-2-5)
RSU 153 ผู้ประกอบการไลฟ์สไตล์ (Lifestyle Entrepreneurship)3(2-2-5)
RSU 154แนวคิดการประกอบการในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Entrepreneurship Concept in Digital Economy)3(3-0-6)
RSU 155 งานออนไลน์ระดับโลก (Global Online Job)3(2-2-5)

         

6) กลุ่มที่ 6 รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล (Digital Media Literacy)

     นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่ม 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต

     จำนวนหน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

RSU 160รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล (Digital Media Literacy)3(2-2-5)
RSU 161การออกแบบและผลิตสื่อดิจิทัล (Design and Production of Media)3(2-2-5)
RSU 162 รู้เท่าทันการลงทุนในยุคดิจิทัล (Investment Literacy in the Digital Age)3(306)
RSU 163 การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคสื่อดิจิทัล (Toward Digital Media Transformation)3(2-2-5)

         

7) กลุ่มที่ 7 หลักคิดวิทยาศาสตร์ (Essence of Science)    

     นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

RSU 170หลักคิดวิทยาศาสตร์ (Essence of Science) 3(2-2-5)
RSU 171วิถีสุขภาพดีมีสุข (Healthy Life-Styles)3(2-2-5)
RSU 172ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Environment -friendly Life)3(2-2-5)
RSU 173 โภชนาการสร้างเสริมสุขภาพ (Nutrition and Health Promotion)3(2-2-5)
RSU 174 การออกแบบสรีระ (Physical Body Design) 3(2-2-5)

         

8) กลุ่มที่ 8 อาร์เอสยู มาย-สไตล์ (RSU My-Style)

     นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต

     จำนวนหน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

RSU 180 รังสิตมาย-สไตล์ (RSU My-Style)3(1-4-4)
RSU 181 นันทนาการ (Recreation)3(2-2-5)
RSU 182การพัฒนาความสามารถพิเศษ (Talents Development)3(2-2-5)
RSU 183 การปฏิบัติงานช่างด้วยตนเอง (D.I.Y.)3(2-2-5)
RSU 184 คนต่างรุ่นในสังคมสูงวัย (Cross Generations in Aging Society)3(2-2-5)
RSU 185 ทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมืออาชีพ (Information Technology Skills for Professionals)3(2-2-5)

         

หมวดวิชาเฉพาะ 90 หน่วยกิต

     1) วิชาชีพ – บังคับ 54 หน่วยกิต

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

CJA 101กระบวนการยุติธรรมและกฏหมายในชีวิตประจำวัน (Justice Administration and Laws in Daily Life)3(306)
CJA 104การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและปัญหาอาชญากรรม (Social Change and Crime)2(204)
CJA 105ความยุติธรรมและกระบวนการยุติธรรม (Justice and Criminal Justice)3(306)
CJA 112ความรู้เบื้องต้นทางด้านอาชญาวิทยา (Introduction to Criminology)3(306)
CJA 202ทฤษฎีอาชญาวิทยา (Criminological Theory)3(306)
CJA 204หลักกฎหมายอาญากับอาชญากรรม (Criminal Laws and Crime)3(306)
CJA 205จิตวิทยากับอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรม (Psychology of Crime and Criminal Justice)3(306)
CJA 207ทัณฑวิทยาและการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด (Penology and Offender Rehabilitation)3(306)
CJA 209อาชญากรรมร่วมสมัย (Contemporary Crime)2(204)
CJA 225ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก (Justice System & Alternative Justice)3(306)
CJA 304กฎหมายธุรกิจเบื้องต้นกับอาชญากรรม (Introduction to Business Law and Crime)3(306)
CJA 307เหยื่อวิทยา (Victimology)2(204)
CJA 317การป้องกันอาชญากรรมในบริบทของการเปลี่ยนแปลง (Crime Prevention in the context of changing)3(306)
CJA 324นโยบายอาญาและการบริหารงานยุติธรรม (Criminal Policy and Justice Administration)3(306)
CJA 325วิธีวิทยาการวิจัย (Research Methodology)3(306)
CJA 402หลักสิทธิมนุษยชน คุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาล (Human Rights, Ethics, and Good Governance)2(204)
CJA 421สัมมนาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม (Seminar in Criminology and Criminal Justice)3(306)
CJA 411การฝึกงาน* (Practical Training) หากเลือกเรียนรายวิชา CJA 411การฝึกงาน ไม่ต้องเรียน CJA 497 สหกิจศึกษา3(03518)
CJA 491ปริญญานิพนธ์* (Senior Project)3(095)
CJA 497สหกิจศึกษา* (Cooperative Education)6(03518)

        *หากเลือกเรียนรายวิชา CJA 497 สหกิจศึกษาไม่ต้องเรียน CJA 411 การฝึกงาน, CJA 491 ปริญญานิพนธ์  

 

     2) วิชาชีพ – เลือก 36 หน่วยกิต
กลุ่มที่ 1 กลุ่มวิชาชีพทางด้านอาชญาวิทยา

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

CJA 219อาชญากรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Crime)3(2-06)
CJA 229การต่อต้านการก่อการร้าย (Psychology and Criminal Justice)3(306)
CJA 306อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี (Cyber Crime and Technology)3(306)
CJA 314องค์กรอาชญากรรมและอาชญากรรมข้ามชาติ (Crime Organization and Transnational Crime)3(306)
CJA 323อาชญากรรมความเกลียดชัง การกลั่นแกล้งและการป้องกัน (Hate Crime, Bullying and Prevention)3(306)
CJA 339สื่อมวลชนและอาชญากรรม (Media and Crime)3(306)
CJA 404อาชญากรรมทางเศรษฐกิจและการเมือง (Economic and Political Crime)3(3-06)


กลุ่มที่ 2 กลุ่มวิชาชีพทางด้านระบบงานยุติธรรม

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

CJA 102การบริหารงานตำรวจ (Environmental Crime)3(3-06)
CJA 103ยุทธวิธีตำรวจ (Police Tactics)3(306)
CJA 201หลักการทางนิติวิทยาศาสตร์และกฎหมาย (The Principle of Forensic Science, and Law)3(306)
CJA 210การบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัย (Security Management)3(306)
CJA 303กระบวนการยุติธรรมสำหรับเด็กและเยาวชน (Juvenile Justice)3(306)
CJA 316ความรู้เบื้องต้นในการเก็บรวบรวมพยานหลักฐานทางดิจิทัล (Introduction to Digital Forensic)3(306)
CJA 327การคุมประพฤติ การพักการลงโทษ และการสงเคราะห์หลังปล่อย (Probation, Parole and After Care)3(3-06)
CJA 337งานสังคมสงเคราะห์ในกระบวนการยุติธรรม (Social Work in Criminal Justice)3(3-06)
CJA 401การบูรณาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ (Integration of Criminology and Forensic science)3(3-06)
CJA 406คอมพิวเตอร์ และกฎหมายด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Forensics and Computer Law)3(3-06)

 

     กลุ่มที่ 3 กลุ่มวิชาทางด้านจิตวิทยาและแนวคิดการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด

     จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

CJA 215พลวัตกลุ่มและพฤติกรรมอาชญากร (Environmental Crime)3(3-06)
CJA 217การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชน (Community Based Correction)3(3-06)
CJA 227การปฏิบัติต่อผู้ต้องขังกลุ่มเปราะบางทางสังคม (Treatment of Vulnerable Prisoners)3(3-06)
CJA 313ความรุนแรงในครอบครัว (Domestic Violence)3(3-06)
CJA 315จิตวิทยาสังคมเบื้องต้น   (Social Psychology)3(3-06)

Contact

โทรศัพท์ : 029972200 ต่อ 1283
โทรสาร : 029972200 ต่อ 1216
อีเมล : cjarsu@gmail.com

Address

มหาวิทยาลัยรังสิต เลขที่ 52/347 หมู่บ้านเมืองเอก ถ.พหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000