หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม
Bachelor of Arts Program in Criminology and Criminal Justice
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Arts (Criminology and Criminal Justice)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Criminology and Criminal Justice)
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
- จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 126 หน่วยกิต
รูปแบบของหลักสูตร
- รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
- ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
- ภาษาที่ใช้
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
- การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
- ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
- การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
อาชีพที่สามารถประกอบการได้หลังจบการศึกษา
บุคลากรประกอบอาชีพในด้านที่เกี่ยวข้องกับ อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม อาทิ พนักงานคุมประพฤติ พนักงานราชทัณฑ์ พนักงานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
- บุคลากรในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติงานทางด้านกระบวนการยุติธรรม อาทิ เจ้าพนักงานศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม นักวิชาการยุติธรรม สำนักงานกิจการยุติธรรม นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กระทรวงยุติธรรม สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สำนักงานป้องกันและปรามปรามการฟอกเงิน สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงมหาดไทย เป็นต้น
- บุคลากรประกอบอาชีพในองค์การมหาชนหรือทำงานในภาคเอกชนและหน่วยงานภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้องกับอาชญาวิทยาและกระบวนการยุติธรรม อาทิ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) หน่วยงานรักษาความปลอดภัย มูลนิธิ สมาคม และองค์กรระหว่างประเทศ
นักวิชาการ นักวิจัย และอาจารย์ในสาขาวิชาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
- สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้น ม. 6 หรือเทียบเท่า ( ไม่กำหนดคะแนนเฉลี่ยสะสม )
หลักฐานการสมัคร
- สำเนาการศึกษา ( Transcript ) 1 ชุด
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน 1 ชุด
- สำเนาทะเบียนบ้าน 1 ชุด
- รูปถ่ายสี 1 นิ้ว 3 รูป ( รูปถ่ายไม่เกิน 6 เดือน )
เกี่ยวกับสาขา อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม
คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต
ปรัชญาของหลักสูตร
คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีทักษะและองค์ความรู้ ในสาขาสามารถนำไปใช้ในกระบวนการยุติธรรม และช่วยแก้ไขปัญหาอาชญากรรมที่ซับซ้อนและ ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นอันส่งผลกระทบต่อความสงบสุขเรียบร้อยของประชาชน โดยมีเป้าหมายให้บัณฑิตในสาขามีความรู้ สามารถประยุกต์องค์รู้ในลักษณะสหวิทยาการ สามารถทำงานทั้งในหน่วยงานราชการและหน่วยงานเอกชนที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมไทยโดยรวม
ด้วยความที่ปัญหาอาชญากรรมในประเทศไทยมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น อันเนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นความก้าวหน้าของเทคโนโลยี โลกาภิวัตน์ ความเหลื่อมล้ำในสังคมส่งผลให้กระบวนการยุติธรรมในประเทศไทยจำเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้จากทั้งอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมมาประยุกต์ใช้ เพื่ออำนวยความยุติธรรมให้เกิดขึ้นในสังคมไทย และแก้ไขปัญหาอาชญากรรมอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาบัณฑิตให้มีคุณภาพในด้านวิชาการและด้านคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติต่อไ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ในสาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม สามารถประยุกต์องค์ความรู้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ สรุปปัญหาและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาอาชญากรรมในสังคม
- เพื่อส่งเสริมให้บัณฑิตสามารถเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบูรณาการความรู้ในการทำงานในระบบงานยุติธรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ในสาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมในลักษณะสหวิทยาการสนับสนุนให้บัณฑิตมีความคิดริเริ่ม และนำเสนอองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคม
- เพื่อพัฒนาทักษะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การค้นคว้าข้อมูลจนเกิดการเรียนรู้และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง สามารถนำเสนอความคิด และเผยแพร่องค์ความรู้ได้อย่างสร้างสรรค์เหมาะสมกับสถานการณ์
- เพื่อให้บัณฑิตเข้าใจวิชาเรียนในสาขาของตนเองอย่างถ่องแท้ มีทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน ควบคู่กับการเน้นการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมมีจิตสำนึก และจิตวิญญาณของการช่วยเหลือ การให้โอกาสแก่ผู้กระทำผิด
โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิต
รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยคณะ
3.1 หลักสูตรที่เปิดสอนนี้มีรายวิชาในหลักสูตรที่สอนโดยคณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม ดังนี้
3.1.1 หมวดวิชาชีพ-บังคับ
3.1.2 หมวดวิชาชีพ-เลือก
รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยวิทยาลัย/คณะ/สถาบัน อื่น
3.2 หลักสูตรที่เปิดสอนนี้มีรายวิชาในหลักสูตรที่สอนโดยคณะอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัย ดังนี้
3.2.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
3.2.2 หมวดวิชาเลือกเสรี
รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้วิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน
– ไม่มี –
รายชื่อวิชาในหลักสูตร
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
1) กลุ่มที่ 1 อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย (RSU Identity)
นักศึกษาจะต้องเรียนกลุ่มวิชา RSU Identity จำนวน 3 หน่วยกิต นักศึกษาจะต้องเรียนวิชาสังคมธรรมาธิปไตย 2 หน่วยกิต และเลือกเรียนรายวิชาอีก 1 หน่วยกิต ดังนี้
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 111 | สังคมธรรมาธิปไตย (Social Dharmacracy) | 2(2-0-4) |
RSU 112 | กีฬาเพื่อสุขภาพ (Sports for Health) | 1(0-2-1) |
RSU 113 | ภาษาอังกฤษในบริบทของเทคโนโลยี การบันเทิงและการออกแบบ (English in TED – Technology, Entertainment, and Design) | 3(2-2-5) |
2) กลุ่มที่ 2 ความเป็นสากลและการสื่อสาร (Internationalization and Communication)
รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานที่นักศึกษาจะต้องเรียน ดังนี้ กรณีที่ 1 นักศึกษาที่มีทักษะทางภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาต่ำกว่าเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ผลคะแนนสอบ O-NET ในรายวิชาภาษาอังกฤษตั้งแต่ 0-20 คะแนน หรือ ไม่มีผลคะแนน O-NET หรือเกรดเฉลี่ยรวมภาษา ต่างประเทศ ต่ำกว่า 3.00) จะต้องเรียนวิชา ENL 124 : ปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ (English Bridging) และสอบผ่านได้สัญลักษณ์ S (Satisfactory) ก่อน จึงสามารถเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษอื่นๆ ตามกรณีที่2 อย่างไรก็ตาม วิชานี้เทียบเท่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่นับรวมกับจำนวนหน่วยกิตในโครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยกำหนด กรณีที่ 2 นักศึกษาที่มีทักษะภาษาอังกฤษสูงกว่าเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ผลคะแนนสอบ O-NET ในรายวิชาภาษาอังกฤษตั้งแต่ 21 คะแนนขึ้นไป หรือเกรดเฉลี่ยรวมภาษาต่างประเทศ มากกว่า 3.00 ขึ้นไป) สามารถเริ่มเรียน ENL 125: ภาษาอังกฤษเพื่อทัศนาโลก (English for Global Exploration) หลังจากนั้น จึงสามารถเรียนวิชา ENL126 :ภาษาอังกฤษในบริบทของเทคโนโลยี การบันเทิงและการออกแบบ (English in TED – Technology, Entertainment, and Design) นอกจากนี้ยังสามารถเลือกเรียนภาษาอังกฤษในระดับสูง คือ ENL 127: ภาษาอังกฤษในการทำงาน (English at Work) ENL 128: การนำเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ (Presentations in English) และ ENL 129: ภาษาอังกฤษสำหรับการประชุม (English for Meetings) ได้
2.1) กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ (English Language)
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
ENL 124 | ปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ (English Bridging) | 3(2-2-5) |
ENL 125 | ภาษาอังกฤษเพื่อทัศนาโลก (English for Global Exploration) | 3(2-2-5) |
ENL 126 | ภาษาอังกฤษในบริบทของเทคโนโลยี การบันเทิงและการออกแบบ (English in TED – Technology, Entertainment, and Design) | 3(2-2-5) |
2.2) กลุ่มวิชาภาษานานาชาติและประสบการณ์ระหว่างประเทศ (International Language and International Experience)
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
ENL 127 | ENL 127 (English at Work) | 3(2-2-5) |
ENL 128 | การนำเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ (Presentations in English) | 3(2-2-5) |
ENL 129 | ภาษาอังกฤษสำหรับการประชุม (English for Meetings) | 3(2-2-5) |
ENL 130 | ภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ (Business English) | 3(2-2-5) |
THA 126 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication) | 3(2-2-5) |
RSU 127 | ลุยโลกอินเตอร์ (Intercultural Communication) | 3(2-2-5) |
RSU 128 | ไทยมองเทศ เทศมองไทย (Intercultural Communication in Thai Community) | 3(2-2-5) |
RSU 129 | สู่โลกกว้าง (Intercultural Communication in World Community) | 3(0-35-18) |
JPN 101 | ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Japanese for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
JPN 102 | ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Japanese for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
JPN 110 | ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร (Japanese Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
CHN 101 | ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Chinese for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
CHN 102 | ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Chinese for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
CHN 110 | ภาษาและวัฒนธรรมจีนเพื่อการสื่อสาร (Chinese Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
FRN 101 | ภาษาฝรั่งเศสสำหรับผู้เริ่มเรียน 1 (French for Beginners I) | 3(2-2-5) |
FRN 102 | ภาษาฝรั่งเศสสำหรับผู้เริ่มเรียน 2 (French for Beginners II) | 3(2-2-5) |
FRN 110 | ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร (French Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
ISL 111 | ภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Arabic for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
ISL 112 | ภาษาอาหรับเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Arabic for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
ISL 113 | ภาษาอาหรับและวัฒนธรรมของประเทศในโลกมุสลิม (Arabic Language and Culture in Muslim Countries) | 3(2-2-5) |
KOR 101 | ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Korean for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
KOR 102 | ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Korean for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
KOR 110 | ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลีเพื่อการสื่อสาร (Korean Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
RUS 101 | ภาษารัสเซียสำหรับผู้เริ่มเรียน (Russian for Beginners) | 3(2–3–6) |
RUS 102 | ภาษารัสเซียในชีวิตประจำวัน (Russian for Daily Life) | 3(2-2-5) |
RUS 110 | ภาษาและวัฒนธรรมรัสเซียเพื่อการสื่อสาร (Russian Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
SPN 101 | ภาษาสเปนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Spanish for Everyday Communication I) | 3(2–3–6) |
SPN 102 | ภาษาสเปนเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Spanish for Everyday Communication II) | 3(2-3-6) |
SPN 110 | ภาษาและวัฒนธรรมสเปนเพื่อการสื่อสาร (Spanish Language and Culture for Communication) | 3(2–3–6) |
GER 121 | ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (German for Everyday Communication I) | 3(2-3-6) |
GER 122 | ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (German for Everyday Communication II) | 3(2-3-6) |
GER 110 | ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันเพื่อการสื่อสาร (German Language and Culture for Communication) | 3(2-3-6) |
SWD 121 | ภาษาสวีดิชเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Swedish for Everyday Communication I) | 3(2-3-6) |
SWD 122 | ภาษาสวีดิชเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Swedish for Everyday Communication II) | 3(2-3-6) |
SWD 110 | ภาษาและวัฒนธรรมสวีเดนเพื่อการสื่อสาร (Swedish Language and Culture for Communication) | 3(2-3-6) |
VTN 101 | ภาษาเวียดนามเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Vietnamese for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
VTN 102 | ภาษาเวียดนามเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Vietnamese for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
VTN 110 | ภาษาและวัฒนธรรมเวียดนามเพื่อการสื่อสาร (Vietnamese Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
MLY 101 | ภาษามลายูเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Malay for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
MLY 102 | ภาษามลายูเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Malay for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
MLY 110 | ภาษาและวัฒนธรรมมลายูเพื่อการสื่อสาร (Malay Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
BHS 101 | ภาษาอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Bahasa Indonesia for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
BHS 102 | ภาษาอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Bahasa Indonesia for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
BHS 110 | ภาษาและวัฒนธรรมอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสาร (Indonesia Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
LAO 101 | ภาษาลาวเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Lao for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
LAO 102 | ภาษาลาวเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Lao for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
LAO 110 | ภาษาและวัฒนธรรมลาวเพื่อการสื่อสาร (Lao Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
BRM 121 | ภาษาพม่าเพื่อการสื่อสารประจำวัน 1 (Burmese for Everyday Communication I) | 3(2-2-5) |
BRM 122 | ภาษาพม่าเพื่อการสื่อสารประจำวัน 2 (Burmese for Everyday Communication II) | 3(2-2-5) |
BRM 110 | ภาษาและวัฒนธรรมพม่าเพื่อการสื่อสาร (Burmese Language and Culture for Communication) | 3(2-2-5) |
3) กลุ่มที่ 3 ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบต่อสังคม (Leadership and Social Responsibility)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 130 | ศาสตร์แห่งรัก (Science of Love) | 3(2-2-5) |
RSU 131 | ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Leadership for Changes) | 3(2-2-5) |
RSU 132 | การรู้เท่าทันการคอร์รัปชั่น (Corruption Literacy) | 3(2-2-5) |
RSU 133 | ศาสตร์พระราชา (King Bhumibol Adulyadej’s Philosophy) | 3(2-2-5) |
RSU 134 | กฎหมายต้องรู้ (Legal Awareness) | 3(2-2-5) |
RSU 135 | การออกแบบชีวิตและสังคมแห่งความสุข (Happy Life and Society Design) | 3(2-2-5) |
4) กลุ่มที่ 4 ศิลปะและวัฒนธรรม (Arts and Culture)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 140 | ชีวิตในต่างแดนกับการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (Intercultural Communication through Overseas Experiences) | 3(0-35-18) |
RSU 141 | สัมมนาประสบการณ์ต่างแดน (Seminars in Overseas Experiences) | 3(3-0-6) |
RSU 142 | ศาสตร์และศิลป์แห่งการดำเนินชีวิต (Sciences and Arts of Living) | 3(3-0-6) |
RSU 143 | ปทุมธานีศึกษา (Pathum Thani Study) | 3(3–0–6) |
RSU 144 | คนต้นแบบ (Idol Studies) | 3(3–0–6) |
RSU 145 | สื่อสะท้อนชีวิต (Life Reflection Through Media) | 3(3–0–6) |
RSU 146 | รู้ทันโลก (World Society Awareness) | 3(3–0–6) |
RSU 147 | ความเป็นไทย (Thainess) | 3(2-2-5) |
RSU 148 | ไทยในสื่อ (Thai Dimensions in Media) | 3(2-2-5) |
RSU 149 | วัฒนธรรมวิจักษ์ (Cultural Appreciation) | 3(2-2-5) |
RSU 240 | ศิลปะการทำงานต่างวัฒนธรรม (Arts of Working with Foreigners) | 3(2-2-5) |
RSU 241 | วิถีอาเซียน 1 (Introduction to Passage to ASEAN: P2A1) | 3(2-2-5) |
RSU 242 | วิถีอาเซียน 2 (Passage to ASEAN Experiences: P2A2) | 3(2-2-5) |
RSU 243 | ความสร้างสรรค์ในงานศิลป์ (Creativity in the Arts) | 3(2-2-5) |
5) กลุ่มที่ 5 ผู้ประกอบการนวัตกรรม (Innovative Entrepreneurship)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 150 | การจัดการเชิงสร้างสรรค์ Creative Management) | 3(2-2-5) |
RSU 151 | ประสบการณ์จากการสตาร์ทอัพและการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ (Startup and Entrepreneurship Experiences) | 3(1-4-4) |
RSU 152 | การคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking) | 3(2-2-5) |
RSU 153 | ผู้ประกอบการไลฟ์สไตล์ (Lifestyle Entrepreneurship) | 3(2-2-5) |
RSU 154 | แนวคิดการประกอบการในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Entrepreneurship Concept in Digital Economy) | 3(3-0-6) |
RSU 155 | งานออนไลน์ระดับโลก (Global Online Job) | 3(2-2-5) |
6) กลุ่มที่ 6 รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล (Digital Media Literacy)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่ม 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 160 | รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล (Digital Media Literacy) | 3(2-2-5) |
RSU 161 | การออกแบบและผลิตสื่อดิจิทัล (Design and Production of Media) | 3(2-2-5) |
RSU 162 | รู้เท่าทันการลงทุนในยุคดิจิทัล (Investment Literacy in the Digital Age) | 3(3–0–6) |
RSU 163 | การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคสื่อดิจิทัล (Toward Digital Media Transformation) | 3(2-2-5) |
7) กลุ่มที่ 7 หลักคิดวิทยาศาสตร์ (Essence of Science)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 170 | หลักคิดวิทยาศาสตร์ (Essence of Science) | 3(2-2-5) |
RSU 171 | วิถีสุขภาพดีมีสุข (Healthy Life-Styles) | 3(2-2-5) |
RSU 172 | ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Environment -friendly Life) | 3(2-2-5) |
RSU 173 | โภชนาการสร้างเสริมสุขภาพ (Nutrition and Health Promotion) | 3(2-2-5) |
RSU 174 | การออกแบบสรีระ (Physical Body Design) | 3(2-2-5) |
8) กลุ่มที่ 8 อาร์เอสยู มาย-สไตล์ (RSU My-Style)
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มที่ 3 ถึงกลุ่มที่ 8 โดยในแต่ละกลุ่มจะเลือกวิชาได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต รวมแล้วไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
RSU 180 | รังสิตมาย-สไตล์ (RSU My-Style) | 3(1-4-4) |
RSU 181 | นันทนาการ (Recreation) | 3(2-2-5) |
RSU 182 | การพัฒนาความสามารถพิเศษ (Talents Development) | 3(2-2-5) |
RSU 183 | การปฏิบัติงานช่างด้วยตนเอง (D.I.Y.) | 3(2-2-5) |
RSU 184 | คนต่างรุ่นในสังคมสูงวัย (Cross Generations in Aging Society) | 3(2-2-5) |
RSU 185 | ทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมืออาชีพ (Information Technology Skills for Professionals) | 3(2-2-5) |
หมวดวิชาเฉพาะ 90 หน่วยกิต
1) วิชาชีพ – บังคับ 54 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
CJA 101 | กระบวนการยุติธรรมและกฏหมายในชีวิตประจำวัน (Justice Administration and Laws in Daily Life) | 3(3–0–6) |
CJA 104 | การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและปัญหาอาชญากรรม (Social Change and Crime) | 2(2–0–4) |
CJA 105 | ความยุติธรรมและกระบวนการยุติธรรม (Justice and Criminal Justice) | 3(3–0–6) |
CJA 112 | ความรู้เบื้องต้นทางด้านอาชญาวิทยา (Introduction to Criminology) | 3(3–0–6) |
CJA 202 | ทฤษฎีอาชญาวิทยา (Criminological Theory) | 3(3–0–6) |
CJA 204 | หลักกฎหมายอาญากับอาชญากรรม (Criminal Laws and Crime) | 3(3–0–6) |
CJA 205 | จิตวิทยากับอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรม (Psychology of Crime and Criminal Justice) | 3(3–0–6) |
CJA 207 | ทัณฑวิทยาและการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด (Penology and Offender Rehabilitation) | 3(3–0–6) |
CJA 209 | อาชญากรรมร่วมสมัย (Contemporary Crime) | 2(2–0—4) |
CJA 225 | ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก (Justice System & Alternative Justice) | 3(3–0–6) |
CJA 304 | กฎหมายธุรกิจเบื้องต้นกับอาชญากรรม (Introduction to Business Law and Crime) | 3(3–0–6) |
CJA 307 | เหยื่อวิทยา (Victimology) | 2(2–0–4) |
CJA 317 | การป้องกันอาชญากรรมในบริบทของการเปลี่ยนแปลง (Crime Prevention in the context of changing) | 3(3–0–6) |
CJA 324 | นโยบายอาญาและการบริหารงานยุติธรรม (Criminal Policy and Justice Administration) | 3(3–0–6) |
CJA 325 | วิธีวิทยาการวิจัย (Research Methodology) | 3(3–0–6) |
CJA 402 | หลักสิทธิมนุษยชน คุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาล (Human Rights, Ethics, and Good Governance) | 2(2–0–4) |
CJA 421 | สัมมนาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม (Seminar in Criminology and Criminal Justice) | 3(3–0–6) |
CJA 411 | การฝึกงาน* (Practical Training) หากเลือกเรียนรายวิชา CJA 411การฝึกงาน ไม่ต้องเรียน CJA 497 สหกิจศึกษา | 3(0–35–18) |
CJA 491 | ปริญญานิพนธ์* (Senior Project) | 3(0–9–5) |
CJA 497 | สหกิจศึกษา* (Cooperative Education) | 6(0–35–18) |
*หากเลือกเรียนรายวิชา CJA 497 สหกิจศึกษาไม่ต้องเรียน CJA 411 การฝึกงาน, CJA 491 ปริญญานิพนธ์
2) วิชาชีพ – เลือก 36 หน่วยกิต
กลุ่มที่ 1 กลุ่มวิชาชีพทางด้านอาชญาวิทยา
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
CJA 219 | อาชญากรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Crime) | 3(2-0–6) |
CJA 229 | การต่อต้านการก่อการร้าย (Psychology and Criminal Justice) | 3(3–0–6) |
CJA 306 | อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี (Cyber Crime and Technology) | 3(3–0–6) |
CJA 314 | องค์กรอาชญากรรมและอาชญากรรมข้ามชาติ (Crime Organization and Transnational Crime) | 3(3–0–6) |
CJA 323 | อาชญากรรมความเกลียดชัง การกลั่นแกล้งและการป้องกัน (Hate Crime, Bullying and Prevention) | 3(3–0–6) |
CJA 339 | สื่อมวลชนและอาชญากรรม (Media and Crime) | 3(3–0–6) |
CJA 404 | อาชญากรรมทางเศรษฐกิจและการเมือง (Economic and Political Crime) | 3(3-0–6) |
กลุ่มที่ 2 กลุ่มวิชาชีพทางด้านระบบงานยุติธรรม
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
CJA 102 | การบริหารงานตำรวจ (Environmental Crime) | 3(3-0–6) |
CJA 103 | ยุทธวิธีตำรวจ (Police Tactics) | 3(3–0–6) |
CJA 201 | หลักการทางนิติวิทยาศาสตร์และกฎหมาย (The Principle of Forensic Science, and Law) | 3(3–0–6) |
CJA 210 | การบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัย (Security Management) | 3(3–0–6) |
CJA 303 | กระบวนการยุติธรรมสำหรับเด็กและเยาวชน (Juvenile Justice) | 3(3–0–6) |
CJA 316 | ความรู้เบื้องต้นในการเก็บรวบรวมพยานหลักฐานทางดิจิทัล (Introduction to Digital Forensic) | 3(3–0–6) |
CJA 327 | การคุมประพฤติ การพักการลงโทษ และการสงเคราะห์หลังปล่อย (Probation, Parole and After Care) | 3(3-0–6) |
CJA 337 | งานสังคมสงเคราะห์ในกระบวนการยุติธรรม (Social Work in Criminal Justice) | 3(3-0–6) |
CJA 401 | การบูรณาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ (Integration of Criminology and Forensic science) | 3(3-0–6) |
CJA 406 | คอมพิวเตอร์ และกฎหมายด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Forensics and Computer Law) | 3(3-0–6) |
กลุ่มที่ 3 กลุ่มวิชาทางด้านจิตวิทยาและแนวคิดการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด
จำนวนหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
CJA 215 | พลวัตกลุ่มและพฤติกรรมอาชญากร (Environmental Crime) | 3(3-0–6) |
CJA 217 | การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชน (Community Based Correction) | 3(3-0–6) |
CJA 227 | การปฏิบัติต่อผู้ต้องขังกลุ่มเปราะบางทางสังคม (Treatment of Vulnerable Prisoners) | 3(3-0–6) |
CJA 313 | ความรุนแรงในครอบครัว (Domestic Violence) | 3(3-0–6) |
CJA 315 | จิตวิทยาสังคมเบื้องต้น (Social Psychology) | 3(3-0–6) |